พบทั้งหมด 28 คน

ธัญรัศม์ ขวัญพสุมนต์ (นาง)
โครงการมาลาเรีย “ไอโอเอ็ม สำนักงานแม่สอด“
ประชากรข้ามชาติ

จันทิมา ตรีเลิศ (จันเจ้า)
เครือข่ายสุขภาวะทางเพศ
ครอบครัวมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสุขภาวะทางเพศ
- เยาวชน วัยรุ่น นักเรียน นักศึกษา
- ผู้ชาย ผู้หญิง กลุ่มหลากหลายทางเพศ
- ผู้ปกครอง คนในครอบครัว
- คนพิการ ประชากรกลุ่มเปราะบาง
- แกนนำชุมชน
- การพัฒนาศักยภาพ ทำความเข้าใจเรื่องฐานคิด ทัศนคติ สิทธิหญิง ชาย LGBTIQ เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย สุขภาวะทางเพศ
- ออกแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้เรื่องเพศ สุขภาวะทางเพศให้แก่ เยาวชน วัยรุ่น นักเรียน นักศึกษา ผู้ชาย ผู้หญิง กลุ่มหลากหลายทางเพศ ผู้ปกครอง คนในครอบครัว คนพิการ ประชากรกลุ่มเปราะบาง
- ให้คำปรึกษา แนะนำเรื่องท้องไม่พร้อม การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย

สุธาทิพย์ ชูกำแพง
แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะผู้หญิงและความเป็นธรรมทางเพศ
สนับสนุนขับเคลื่อนงานเชิงประเด็นในพื้นที่ เชื่อมโยงการทำงานกับกลไก หรือหน่วยงานในท้องถิ่น
ผู้หญิง/gender

ชนฐิตา ไกรศรีกุล (เนี้ยบ)
JELI
กลุ่มของแรงงานหญิงบนแพลตฟอร์ม
เป็นเจ้าหน้าที่วิจัยสถาบันแรงงานและเศรษฐที่เป็นธรรม ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหากำไรที่ทำงานด้านวิชาการและขับเคลื่อนรณรงค์ ประเด็นแรงงานและความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจต่อกลุ่มเปราะบาง โดยเฉพาะกลุ่มแรงงานหญิงบนแพลตฟอร์มด้านการดูแล โดยในปีที่ผ่านมา (2563) ได้เป็นทีมเก็บข้อมูลวิจัยด้านการเก็แบบสอบถาม จัดโฟกัสกรุ๊ป รวมถึงในปี 2564 ได้ทำงานสื่อสารองค์กร และช่วยเหลืองานจัดตั้งขยายเครือข่ายคนทำงานแบบแพลตฟอร์มด้วยเช่นกัน

สุสินี วรศรีโสทร (รีย์)
กระบวนกรอิสระ (ฟรีแลนซ์)
ให้คนรู้จักตัวเอง รักตัวเอง รู้จักคนอื่น รักคนอื่น เมื่อรักตัวเองได้จะเชื่อมโยงเป็นหนึ่งเดียวกับตัวเองได้ และเมื่อเชื่อมโยงกับตัวเองได้จะเชื่อมโยงกับคนอื่นและสรรพสิ่ง นำไปสู่oneness รวมกันเป็นหนึ่งด้วยความรัก เมื่อเราเข้าถึงความจริงจะเกิดความงามและกลายเป็นความรัก
ร่วมเรียนรู้ทุกกระบวนการเพื่อรู้จักตัวเองและเติบโตจากการทำงาน
กลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม ขึ้นอยู่กับผู้ว่าจ้างให้จัดกระบวนการอบรม
ทำอบรม เกี่ยวกับเรื่องเพศ เรื่องเสริมพลัง และเรื่องจิตวิญญาณ (ตื่นรู้สู่ oneness)

พรรัตน์ วชิราชัย
อิสระ (ADMIN เพจคุยกับเธอ)
รณรงค์เพื่อสร้างความเป็นธรรมทางเพศ
ผู้หญิง/gender

เฉิดโฉม อภิชาตชัยกุล (เปิ้ล)
มูลนิธิหญิงชายก้าวไกล
เจ้าหน้าที่ประสานงานเครือข่ายภาคี บทบาทหน้าที่ติดตามประสานงานพื้นที่เครือข่ายการทำงานกับมูลนิธิ ติดตามเป็นพี่เลี้ยงในพื้นที่ชุมชนเป้าหมาย ในการพัฒนาโครงการของพื้นที่เพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ใครมีปัจจัยกระตุ้นจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

ผุสดี อยู่คง
ชมรมสตรีไทยดีเด่นแห่งชาติ จ.ระนอง
สร้างความเข้มแข็งให้กับสตรีในครอบครัวเพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคม
สมาชิกชมรมสตรีไทยดีเด่นจังหวัดระนอง
- การสร้างความเข้มแข็งให้แก่สมาชิกชมรมสตรีไทยดีเด่นจังหวัดระนองให้มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องสิทธิ์ในด้านต่างๆของสตรี และเสริมพลังให้สตรีลุกขึ้นมามีสิทธิ์ในการจัดการภายในครอบครัวและชุมชนร่วมกัน
- การพัฒนาทักษะอาชีพให้แก่สตรี อาทิเช่น ฝึกอาชีพผ้าปักปาเต๊ะเพื่อสร้างรายได้ให้กับสมาชิกในกลุ่มสตรีไทยดีเด่นจังหวัดระนอง

ธัญมน สว่างวงศ์ (มีน)
มูลนิธิหญิงชายก้าวไกล
- ประสานงานแกนนำชุมชน โรงแรม
- ให้คำปรึกษาผู้ประสบปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและความรุนแรงทางเพศ

ลัดดา ไวยวรรณ์ (หน่อย)
ผู้ด้อยโอกาสทางสังคมในพื้นที่ชายแดนมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
- กลุ่มความหลากหลายทางเพศ LGBTIQs
- กลุ่มผู้ติดเชื้อ HIV และผู้ป่วยเอดส์
- กลุ่มแม่หญิง ไทย-ลาว
- การพัฒนาศักยภาพให้แก่ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ผู้ได้รับผลกระทบ และครอบครัว โดยส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์ การดูแลสุขภาพ และความต่อเนื่องในการรักษา ให้แก่สมาชิกกลุ่มผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ และคนในชุมชน
- อบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำให้มีความรู้และทักษะในการสื่อสารเรื่องโรคเอดส์, การเขียนโครงการและการบริหารจัดการ
- จัดทำค่ายครอบครัวและประชุมประจำเดือนในกลุ่มเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและผู้ใหญ่ที่ได้รับผลกระทบ
- ให้คำปรึกษาเพื่อดูแลด้านจิตใจ จัดกิจกรรมเยี่ยมบ้านสมาชิกในกลุ่ม
- ส่งเสริมการจัดสวัสดิการทางสังคมเพื่อช่วยเหลือกลุ่มผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ รับบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธา เพื่อประสานความร่วมมือในการช่วยเหลือด้านสวัสดิการทางสังคม เพื่อส่งเสริมให้ผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ ได้รับเบี้ยยังชีพ ทุนการศึกษาสำหรับเด็กที่อยู่ร่วมกับเชื้อเอชไอวีและเด็กที่ได้รับผลกระทบฯ
- สร้างเครือข่ายการทำงานด้านเอดส์ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานสาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน ภาคเอกชน ผู้นำชุมชน และแกนนำกลุ่มผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ในพื้นที่

จงรักษ์ สีหะวงษ์ (จงรัก)
กลุ่มโฮมฮักโฮมแพงแบ่งปัน
การป้องกันปัญหาท้องไม่พร้อมในเยาวชน / การจัดการชุมชน เช่น การจัดการขยะ การจัดการน้ำ
ผู้หญิง/gender

ปัทมาพร พูนมีทรัพย์ (อี๊ด)
เครือข่ายสุขภาวะทางเพศ
สังคมมีความเข้าใจเรื่องความเท่าเทียมทางเพศ ไม่เลือกปฏิบัติ และมีวิถีปฏิบัติที่เท่าเทียมทางเพศ
- ผู้ชาย ผู้หญิง กลุ่มหลากหลายทางเพศ
- ผู้ปกครอง คนในครอบครัว
- เด็กเยาวชนที่ศึกษานอกระบบโรงเรียน
- เยาวชนในมหาวิทยาลัย
- องค์กรภาครัฐ อาทิเช่น ครู สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ครูในโรงเรียน บุคลากรโรงพยาบาล (OSCC) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ผู้นำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
- พัฒนาศักยภาพ ออกแบบและจัดกระบวนการเรียนรู้ความเข้าใจเรื่องเพศ สุขภาวะทางเพศ
- พัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้เรื่องเพศร่วมกับครูผู้สอนการศึกษานอกระบบฯ(กศน.)
- ให้คำปรึกษา ท้องที่ปลอดภัย การยุติการตั้งครรภ์อย่างปลอดภัย ส่งต่อให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องเพศ สุขภาวะทางเพศแบบออนไลน์ให้กับกลุ่มผู้ปกครอง
- อบรมปรับฐานคิดเพื่อสร้างทางทีมในการทำงานเรื่องเพศ สุขภาวะทางเพศและการทำงานป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศในชุมชน
- ให้คำปรึกษาผู้ต้องหาก่อนการตัดสินคดีของศาล ศูนย์จิตสังคม ศาลอาญากรุงเทพฯใต้