จะสร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคมอย่างไร?: มองผ่านกระจกเงา (2) | “โลกนี้ไม่มีขยะ” วิธีคิดเรื่องการรับบริจาค
แทบทุกครั้งที่เกิดภัยพิบัติในประเทศไทยเราจะเห็นกระจกเงาลงไปลุยหน้างานอยู่เสมอ ล่าสุดวิกฤตน้ำท่วมภาคอีสานเราก็ได้เห็นการระดมกำลังอาสาสมัครไปเป็นอาสาล้างบ้าน ซ่อมบ้านและฟื้นฟูหลังน้ำท่วม ฝังตัวอยู่ในพื้นที่ที่ประสบภัยพิบัติอยู่ในขณะนี้
พัชรี อังกูรทัศนียรัตน์
30 กันยายน 2562จะสร้างองค์กรนวัตกรรมทางสังคมอย่างไร?: มองผ่านกระจกเงา
องค์กรทางสังคมกำลังเผชิญกับวิกฤตหลายด้าน วิกฤตประการหนึ่งคือเรื่องทุนทำงาน จะหาเงินมาทำงานอย่างไรกลายเป็นคำถามใหญ่ของหลายองค์กร แต่ละปีเราต้องวนเวียนอยู่ในวัฏจักรของการเขียนโครงการเพื่อขอทุนมาทำงานจนมีผู้กล่าวว่าเราทำงานรับใช้แหล่งทุนมากกว่าจะทำงานเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างแท้จริง
พัชรี อังกูรทัศนียรัตน์
26 กันยายน 2562ความเหลื่อมล้ำของคนเมือง กับระบบขนส่งสาธารณะที่(ไม่)เอื้อต่อคนทุกกลุ่ม
ระบบขนส่งสาธารณะ ในกรุงเทพฯ มีหลายรูปแบบประกอบกัน ทั้งการขนส่งระบบราง ระบบรถโดยสาร ประจำทาง ระบบเรือโดยสาร และรถรับจ้าง โดยระบบเหล่านี้มีความเชื่อมโยงกันเพื่อเอื้อให้เกิดการเดินทางที่สะดวกและรวดเร็ว ทว่ากลับกลายเป็นการเดินทางที่ยากลำบากและแพงมาก เพราะการเดินทางจากประตูบ้านถึง…
พงศ์สุดา กาศยปนันท์
8 มีนาคม 2562นักศึกษา (ไม่ได้) หายไปไหน !
เป็นข้อความจากหลังเสื้อครบรอบเหตุการณ์ 36 ปี 14 ตุลาฯ ที่สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย จัดทำขึ้นเพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์ดังกล่าว เมื่อปี 2552 นัยยะหนึ่งเพื่อต้องการยืนยันถึงการดำรงอยู่ของขบวนการนักศึกษา แต่อีกนัยยะหนึ่ง การใส่วงเล็บคำว่า (ไม่ได้) หายไปไหน ก็เหมือนเป็นการหยอกเย้าในเชิงตั้งคำถามถึงนักศึกษาด้วยกันเอง ว่าเหตุใดจึงไม่ออกมาเป็นแก่นแกนหลักในการขับเคลื่อนทางการเมือง
ปกรณ์ อารีกุล
29 ตุลาคม 2561เสรีนิยมใหม่กับการสร้างความเป็นอื่น: กรณีศึกษาการขยายตัวของกลุ่มคนชายขอบร่วมสมัย
ลัทธิเสรีนิยมใหม่เป็นภาพสะท้อนการขยายตัวของระบบทุนนิยมตั้งแต่ช่วงปลาย ศตวรรษที่ 20 โดยมีจุดเริ่มต้นจากการพยายามลดต้นทุนการผลิตเพื่อเอื้อต่อการแสวงหากำไรอย่างเข้มข้น ลักษณะเช่นนี้มาพร้อมกับการทำลายรัฐสวัสดิการในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้า การย้ายฐานการผลิตสู่ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ที่มีค่าแรงถูกกว่า สวัสดิการต่ำกว่า คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า…
ผศ. ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
3 ตุลาคม 2561ฝันให้ไกล ไปด้วยกัน: คู่มือนักยุทธศาสตร์เพื่อความเป็นธรรม
“เราจะเป็นนักยุทธศาสตร์ได้หรือ?” คำพูดเหล่านี้มาจากฐานความเชื่อที่ว่า นักยุทธศาสตร์จะต้องเป็นคนเก่งมีวิสัยทัศน์ เป็นผู้นำองค์กร มีความรู้สูง มีบารมีที่สั่งสมมาจากประสบการณ์การทำงานอันยาวนาน มีบุคลิกดีพูดจาน่าเชื่อถือ มีความเป็นผู้อาวุโสที่ผู้น้อยต้องน้อมรับฟัง มีเครือข่ายกว้างขวาง ที่สำคัญคือมองนักยุทธศาสตร์เป็นบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หนังสือเล่มนี้จะทลายความเชื่อดังกล่าว
แผนงาน นธส.
5 กันยายน 2561เสริม สร้าง สาน สรรค์: บันได 4 ขั้นสู่งานขับเคลื่อนสังคม
หนังสือเล่มนี้จะชวนคุณมาค้นหาเส้นทางสู่การขับเคลื่อนสังคมเพื่อการเปลี่ยนแปลงจากฐานรากร่วมกัน เพราะงานขับเคลื่อนสังคมไม่อาจทำได้โดยคนคนเดียว แต่จำเป็นต้องผนึกกำลังกันเป็นขบวนเพื่อไปให้ถึงเป้าหมายสังคมที่เท่าเทียมเป็นธรรม
แผนงาน นธส.
5 กันยายน 2561บทเรียนขบวนการเคลื่อนไหวลาตินอเมริกาสู่ขบวนการเคลื่อนไหวไทย: กรณีศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขบวนการเคลื่อนไหว องค์กรภาคประชาชนและพรรคการเมือง
บทความนี้มุ่งนำเสนอแนวทางการพัฒนาการต่อสู้ของขบวนการภาคประชาชนในรูปแบบต่างๆโดยศึกษาผ่านกรณีศึกษาลาตินอเมริกา เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาเรียนรู้สำหรับการยกระดับขบวนการภาคประชาชนในไทย การพิจารณาขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองและสังคมจำเป็นต้องพิจารณาผ่าน ปัญหาทางโครงสร้างเศรษฐกิจการเมืองในระดับโลก ควบคู่กับความสัมพันธ์ของขบวนการเคลื่อนไหวต่างๆ…
ผศ. ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
24 สิงหาคม 2561ความเหลื่อมล้ำ: สภาพการรับรู้ ความยากจน และความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจ เมื่อคน 1% ครองความมั่งคั่ง 58%
“ความขัดแย้งทางการเมืองตลอด 10 ปี ที่ผ่านมา คือ ความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจ พูดตรงๆก็คือ ความขัดแย้งทางชนชั้นที่เพิ่มมากขึ้น ความขัดแย้งทางเศรษฐกิจไม่ลดลง” คำพูดของ ศ.ดร.เกษียร เตชะพีระ ในการให้สัมภาษณ์ หัวข้อ “อนาคตการเมืองไทยและประชาธิปไตยโลก” เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2561 ที่ผ่านมา ความน่าสนใจของคำพูดนี้ คือ “ความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจ”
พรชัย ยวนยี
16 กรกฎาคม 2561เคลื่อน(โลก)ไปด้วยกัน.. เรื่องเล่าจากห้องเรียนนักขับเคลื่อนสังคม
พื้นที่เล็กๆ หรือหลายคนเรียกพื้นที่นี้ว่า “ห้องเรียนนักขับเคลื่อนฯ” ห้องเรียนแห่งนี้…เป็นห้องเรียนธรรมดาสำหรับคนธรรมดา เป็นห้องเรียนที่ไม่ไม่เน้นการสอน การบรรยายแต่เน้นการแลกเปลี่ยนเพื่อสร้างการเรียนรู้ หนังสือเล่มนี้จะช่วยบอกเล่าเรื่องราวร้อยพัน ที่เกิดขึ้นใน “ห้องเรียน”…
แผนงาน นธส.
10 กุมภาพันธ์ 2561ปลาเล็กกินปลาใหญ่: โลกเปลี่ยนได้เมื่อชุมชนเปลี่ยนแปลง
คณะผู้เขียนและเรียบเรียง: ศรินพร พุ่มมณี จำนง จิตรนิรัต […]
แผนงาน นธส.
9 กุมภาพันธ์ 2561ทำไมเราต้องมีรัฐสวัสดิการ? กระบวนการขับเคลื่อนของคนชายขอบสู่รัฐสวัสดิการในสังคมไทย
พัชรี อังกูรทัศนียรัตน์เรียบเรียง เรียนฟรีมีทางเลือก […]
พัชรี อังกูรทัศนียรัตน์
18 มกราคม 2561คู่มือรณรงค์ของคนชายขอบเพื่อการเปลี่ยนแปลงจากฐานราก
กิตติชัย งามชัยพิสิฐ และคณะ เรียบเรียง พิมพ์ครั้งแรก มี […]
แผนงาน นธส.
3 กันยายน 2560แนวคิดปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health หรือ SDH) กับการเพิ่มอำนาจให้คนชายขอบ เพื่อสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมและสุขภาพ
แผนงานนธส. ตั้งใจใช้คำว่า “คนชายขอบ” (Marginal People) ในความหมายเดียวกับ “ประชากรกลุ่มเฉพาะ” (Specific Group of People) เพื่อแสดงให้เห็นคุณสมบัติร่วมของประชากรกลุ่มเฉพาะที่เป็นเป้าหมายการทำงานของสำนัก 9 ในการสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำทางสุขภาพให้คนกลุ่มนี้ คือ คนไร้บ้าน ผู้มีปัญหาสถานะบุคคล คนพิการ ผู้ใช้แรงงาน คนมุสลิม ผู้หญิง และผู้สูงอายุ
editor
13 กุมภาพันธ์ 2559สนทนาข้ามพรมแดน: ความทรงจำร่วมและความหวังของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมจากฐานราก
22 พ.ค. 2558 โดย ธัญลักษณ์ ศรีสง่า หนังสือพิมพ์มติชน ฉบ […]