SDH 05 – การแทรกแซงทางนโยบายเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางสุขภาพ

ทางคณะกรรมการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพจากองค์การอนามัยโลกได้ให้แนวทางของการแทรกแซงทางนโยบาย การแก้ไขปัญหาในทางนโยบาย เพื่อที่จะนำไปสู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพไว้อยู่ 4 ระดับ

SDH 04 แนวทางการทำงานขับเคลื่อนสังคมไปสู่ความเป็นธรรมทางสุขภาพ

ในเรื่องของการสร้างการมีส่วนร่วมและการเพิ่มอำนาจของประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับกลุ่มคนที่เสียเปรียบทางสังคม ทางคณะกรรมการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพขององค์การอนามัยโลก ได้วางแนวทางการทำงานเอาไว้ 5 ระดับ

SDH 03 – คำถาม 5 ข้อ เพื่อความเป็นธรรมทางสุขภาพ

มันจะเป็นคำถามที่พวกเราจะมาช่วยกันหาคำตอบร่วมกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งการหาคำตอบจากกลุ่มคนที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นจากกลุ่มคนจน-คนรวย คนมีโอกาส-คนด้อยโอกาส คนชายขอบ-คนที่อยู่ในกระแสหลัก คนที่มีอำนาจและคนที่ไม่มีอำนาจ คำตอบที่หลากหลายเหล่านี้มันนำมาสู่การประมวลผล นำมาสู่การสร้างความร่วมมือที่หลากหลาย

SDH 02 – จากสุขภาพส่วนตัวสู่สุขภาพสังคม

ที่มาหลักๆ ของวิธีคิดแบบโทษเหยื่อก็คือ การเชื่อว่าโลกนี้มีความยุติธรรม หมายความว่าถ้าเราทำดีเนี่ยเราก็ควรจะได้รับรางวัลนะ แต่ถ้าเราทำไม่ดี เราก็ควรได้รับการลงโทษ เอ๊ะ! ดูมันก็สมเหตุสมผลดี แต่ว่าเอาเข้าจริงๆ แล้ว การกระทำของเราเอง มันเป็นแค่ส่วนหนึ่งของสิ่งต่างๆ อีกหลายปัจจัยที่แวดล้อมเราอยู่

SDH 01 – ฐานคิดและที่มาของแนวคิดความเป็นธรรมทางสุขภาพ

ที่ยืนยาวกว่าคนที่เกิดในอีกประเทศหนึ่ง ปรากฏการณ์ของความไม่เป็นธรรมทางสุขภาพก็คือ การเจ็บป่วยและการเสียชีวิตโดยไม่สมควรในประเทศต่างๆ