#โควิด-19: ความเหลื่อมล้ำกัดกร่อนกินใจ

ซาเราะห์ เกิดที่บ้านอ่าวใหญ่ จังหวัดเกาะสอง ประเทศเมียนมาร์ หมู่บ้านชายฝั่งแถบนั้นล้วนแต่เป็นหมู่บ้านคนเชื้อสายไทยมุสลิม และบางหมู่บ้านก็เป็นมลายู พูดภาษายาวีสำเนียงลังกาวี

#ผีพระ : การตกหล่นจากสารบบ ทะเบียนและหน้าประวัติศาสตร์

เมื่อเราอยู่กับความรู้สึกเฉพาะหน้าก็จะสัมผัสความงดงามของสีสันและอารมณ์ของปัจจุบันขณะ แต่เมื่อเพ่งลึกลงไปใต้ผืนน้ำ ทะลุชั้นเมฆ ข้ามโขดเขาสู่วันเวลาเก่าๆ อารมณ์หม่นเทาก็เข้าโถมทับความรู้สึก เมื่อผมระลึกนึกถึงเรื่องราวของผู้คนที่ได้เข้าไปรับรู้

ตะวันลับฟ้าที่เกาะกระทะ

ใต้เกาะหม้อลงไปสักครึ่งไมล์คือ ‘เกาะหม้อน้อย’ คนมอแกนเรียกว่า “เกาะกระทะ” ลักษณะคล้ายกระทะคว่ำอยู่กลางทะเล ทั้งสองเกาะเป็นเกาะขนาดเล็กเหมือนเนินดินสูงที่โผล่พ้นน้ำขึ้นมา ริมน้ำเป็นผาหิน ถัดขึ้นไปเป็นดินเหนียวปนดินลูกรัง มีไม้ใหญ่ขึ้นปกคลุมร่มครึ้ม ก็ไม่รู้ว่าทำไมคนไทยถึงเรียกว่า “เกาะหม้อ?”

การเดินทางของเพลงฝ่ายก้าวหน้า: “ไทยร็อกม็อบ” ปฏิบัติการเคลื่อนไหวของนักดนตรี

เบื้องหลังบทเพลงเหล่านี้ส่วนหนึ่งมาจากการทำงานของคนหนุ่มสาวกลุ่มหนึ่งในนาม triple H music ที่พยายามนิยามเพลงเพื่อชีวิตขึ้นใหม่คู่ขนานไปกับการสร้างวัฒนธรรมเพลงที่สื่อสารเรื่องความเท่าเทียมเป็นธรรม

ทำไมถึงสนใจรัฐสวัสดิการ?

ผมเชื่อว่าหากพัฒนา “รัฐสวัสดิการ” ได้มากพอ จะทำให้ความเครียดความกังวลของผู้คน ลดน้อยลงอย่างมหาศาล (เพราะในสังคมมีคนชั้นกลางมากที่สุด)

ความรุนแรงที่มิอาจมองข้าม

หลายคนบอกเธอว่า “ผัวเมียก็มีทะเลาะกันเป็นเรื่องธรรมดา ถ้าเลิกกันลูกจะเป็นปมด้อย คนเป็นแม่ต้องอดทน” และตัวเธอเองก็เชื่อเช่นเดียวกัน เธอจึงยอมทนอยู่กับเขาเพราะไม่มีทางเลือก เรื่องราวเหล่านี้เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำอีกในสังคมไทย

1 2